Browsing Category:กฎหมายน่ารู้

กฎหมายน่ารู้

เช็คเด้ง ติดคุกไหม ? *

เมื่อวันที่ ๒๗ มิ.ย.๒๕๖๕ “ครม.มีมติยกเลิก พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คแล้ว” และต่อมาวันที่ ๓๑ ต.ค. ๒๕๖๕ ได้มีการเสนอร่างพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. … ต่อสภาผู้แทนราษฎรเพื่อบรรจุระเบียบวาระเป็นเรื่องด่วน ทำให้ประชาชนทั่วไป รวมถึงนักกฎหมายหลายท่าน สงสัยว่า“มีการยกเลิกการกระทำความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คไปแล้ว โดยจะมีผลบังคับใช้หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นเวลา ๑๒๐ วัน”แล้ว พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๕๓๔...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

บทความทางกฎหมายโดยอัยการวรเทพ  สกุลพิชัยรัตน์

เรื่อง " คณิตศาสตร์แบบนิติศาสตร์ สาม บวกสองบวกห้าเท่ากับแปด " *เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๖ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ได้อ่านคำพิพากษาคดีของ พันตำรวจโทหรือ นายทักษิณ ชินวัตร จำเลย ซึ่งเดินทางกลับมาประเทศไทยภายหลังหลบหนีออกไปจากประเทศไทยนานหลายปี รวมทั้งสิ้น ๓ คดี คือคดีทุจริตปล่อยกู้เอ็กซิมแบงค์ จำคุก ๓ ปี...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

มารู้จัก “พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี พ.ศ. 2566” กันเถอะ

         “ หลอกให้กด link  แล้วถูกดูดโอนเงิน”          “ หลอกให้กดดูเพจ แล้วถูกดูดเงิน โอนเงิน ”          “ แก๊งค์ CALL CENTER  หลอกให้โอนเงิน”          “ หลอกให้ร่วมลงทุนออนไลน์ ”           “ ซื้อของออนไลน์ ได้ของไม่ตรงปก”          “ ทำอย่างไรจึงจะอายัดเงินทัน”ปัญหาดังกล่าว เป็นปัญหาอาชญากรรมทางเทคโนโลยีซึ่งมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

กล้องบันทึกการจับกุม คุ้มครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐ และประชาชน

สืบเนื่องจากกรณี ”ตำรวจทางหลวง” ถูกคนร้ายขับรถหลบหนี แล้วหักหัวรถตัดขวางรถจักรยานยนต์คันที่ตำรวจทางหลวงซึ่งกำลังขับขี่รถเปิดไซเรนไล่ติดตามคนร้ายที่กำลังเร่งเคลื่อนหลบหนีด้วยความเร็ว จนเป็นเหตุให้ตำรวจทางหลวงนำ้ดีต้องประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตในที่เกิดเหตุทันที กรณีนี้จะเป็นตัวอย่าง อันดีที่แสดงให้เห็นว่าในขณะปฎิบัติหน้าที่ ตำรวทางหลวงท่านนี้ได้ติดกล้องที่บันทึกภาพและเสียงตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ทั้งหมด จึงทำให้เราเห็นว่า เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น ทั้งก่อนเกิดเหตุ, ขณะเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุจาก “ภาพและเสียง” ที่บันทึกได้จากกล้องติดหมวกของตำรวจทางหลวง จึงเป็น ”พยานหลักฐานสำคัญ” ในการ “จับกุม” คนร้ายผู้ก่อเหตุ อันนำไปสู่การแจ้งข้อหาและการไม่อนุญาตจากศาลให้มีการปล่อยตัวผู้ก่อเหตุ ในครั้งนี้สถานการณ์อาจเปลี่ยนแปลงไปถ้า……....
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

“ 149 ” กับ “ 157 “ เลขเด็ด ที่ไม่มีใครอยากได้ ?

นับแต่ คดีทุนจีนสีเทา, คดีเน็ตไอดอลไต้หวัน, คดีอดีตอธิบดีแห่งหนึ่งกับเงินสดมากมาย (ความจริงต้องนับแต่คดีผู้กำกับคลุมถุงดำ) มีการกล่าวอ้างถึง เลขเด็ด “157” กับ “149” เป็นจำนวนมาก ว่าแต่ว่า…..เลขเด็ด 149 และ 157 หมายความว่าอย่างไรมาดูหลักกฎหมายในเรื่องนี้กันมาตรา 157 ”ละเว้นหรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริต…”ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157ผู้ใดเป็น เจ้าพนักงาน ปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

เด็กอายุไม่เกิน 12 ปี กระทำผิด ไม่ต้องรับโทษ (เรื่องกล้วย ที่ไม่กล้วย)

สืบเนื่องจากข่าว หญิงชาว อ.ประโคนชัย บุรีรัมย์ แจ้งความกับพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดีกับ เด็กนักเรียน 8 คน อายุระหว่าง 5-12 ปี ในความผิดฐาน “ร่วมกันบุกรุกและร่วมกันทำให้เสียทรัพย์ “ หลังจากเรียกเด็กมาที่บ้านแล้วสอบด้วยตัวเอง พบกินกล้วยในห้องครัวหมดไป 1 หวี  และมีทรัพย์สินภายในบ้านเสียหาย ต่อมาตำรวจรับลูก  “ออกหมายเรียก“ เด็กอนุบาลถึง ป.6”  มารับทราบข้อกล่าว ...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

บาดแผลทางใจกับความสำคัญของการสอบสวนเด็ก

หลายคนคงเคยได้ยินว่าบาดแผลทางกายนั้นแม้จะเจ็บปวดแค่ไหนก็สามารถรักษาหายได้ แต่บาดแผลทางใจนั้นยากแก่รักษาหรือยากแก่การลืมเลือนไปได้และบางคนไม่อาจรักษาแผลใจให้หายได้ตลอดไป
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

โปรแรงแห่งปี : ซื้อรถแถมคดีอาญา!!!!

สืบเนื่องจากกรณีที่ปรากฏเป็นข่าว “เมื่อวันที่ 21 ส.ค. ที่ผ่านมา น.ส.บี (นามสมมุติ) ได้ซื้อรถยนต์ กระบะจากศูนย์โชว์รูมขนาดใหญ่แห่งหนึ่ง โดยออกรถป้ายแดง ผู้ซื้อรถได้ ”มัดจำป้ายแดง” ไว้จำนวน 5,000 บาท แต่ต่อมาวันที่ 6 ก.ย.
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

เหตุใด ผู้ก่อเหตุมักจะอ้างว่า “ผมป่วยเป็นโรคจิต” ครับ

ทุกวันนี้ เมื่ออ่านข่าวอาชญากรรมมักจะเจอแต่คำว่า “คนร้ายหรือญาตพี่น้องมักจะอ้างเหตุป่วยเป็นโรคจิต หรือ ขาดยาหรือไม่ได้ทานยาที่รักษาโรคจิตอย่างต่อเนื่อง”
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

การแอบอัดเสียงการสนทนา สามารถนำมาใช้รับฟังเป็นพยานหลักฐานในชั้นศาลได้หรือไม่ ?

เคยไหมที่....มีคนนำ “เสียงที่บันทึกได้จากการสนทนาทางโทรศัพท์” ของเรา กับคู่สนทนาของเราไปเผยแพร่ต่อสาธารณะชน หรือ ถูกคู่กรณีนำเอาเสียงที่บันทึกได้จากโทรศัพท์ไปใช้อ้างอิงเป็นพยานในชั้นศาล (หากเคย)
Continue reading
Share