Browsing Category:กฎหมายน่ารู้

กฎหมายน่ารู้

บทความทางกฎหมาย เรื่อง “ดุลพินิจกำหนดโทษเด็กและเยาวชน”

“ดุลพินิจกำหนดโทษเด็กและเยาวชน”  ชื่อนี้ เป็นชื่อ “การศึกษาอิสระ” หรือ IS หรือ Independent Study หรือ Baby Thesis ที่ผู้เขียนได้นำเสนอ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต ปีการศึกษา ๒๕๔๖เหตุผลที่ศึกษาเรื่อง “ดุลพินิจกำหนดโทษเด็กและเยาวชน”เนื่องจาก ขณะนั้น (ปี ๒๕๔๕) ผู้เขียนรับราชการเป็น “พนักงานอัยการ” สำนักงานอัยการคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสมุทรปราการ...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

คืนสำนวนเด็ก 15 กราดยิงพารากอน เท่ากับ ไม่ดำเนินคดีเด็กจริงหรือ ?

เมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2566  ปรากฏข่าว สำนักงานอัยการสูงสุด คืนสำนวนคดีที่พนักงานสอบสวน สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน ส่งสำนวนการสอบสวนให้กับพนักงานอัยการ สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดีเยาวชนและครอบครัว 3 พิจารณาเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2566 โดยเป็นคดีกล่าวหา เด็กชาย อายุไม่เกิน 15 ปี ตกเป็นผู้ต้องหา ในความผิดฐาน “ฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน ,...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

จุดจบ…คนกินเด็ก!!!!

สืบเนื่องจาก “ข่าวอดีตนักมวยชื่อดังกับเด็กวัย ๑๗ ปี” โดยสังคมมีความเห็นเป็นสองทาง ทางหนึ่งบอกว่า “อดีตนักมวยติดคุกแน่แน่ เพราะดันไปกินเด็ก ๑๗ ปี” แต่อีกฝ่ายบอกว่า “อดีตนักมวยรอดเพราะสำคัญผิดในข้อเท็จจริงเรื่องอายุเด็ก”ความจริง เรื่องแบบนี้ไม่ใช่ว่า เพิ่งจะเกิด หรือเป็นคดีแรก หากแต่เคยเกิดคดีแบบนี้มาก่อนหน้านี้แล้ว ทั้งที่เป็นข่าวและไม่เป็นข่าว เช่น อดีต ส.ว ถูกกล่าวหาว่า “ซื้อบริการทางเพศจากเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

มารู้จัก “พระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. ๒๕๖๕” กันเถอะ

แต่เดิม “ โทษทางอาญา”  ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘ จะมีแต่ “ประหารชีวิต, จำคุก, กักขัง , ปรับ และริบทรัพย์สิน ” เมื่อผู้กระทำความผิดต่อกฎหมายอาญา ย่อมต้องถูกจับกุมดำเนินคดี ต้องถูกพิมพ์มือและบันทึกประวัติอาชญากร แม้ว่าจะกระทำความผิดซึ่งมีแต่เพียงโทษปรับสถานเดียวก็ตามแต่ต่อมา เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๕ ได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา“ พระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

มารู้จัก “ พระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. ๒๕๖๕ ” กันเถอะ

แต่เดิม “ โทษทางอาญา”  ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘ จะมีแต่ “ประหารชีวิต, จำคุก, กักขัง , ปรับ และริบทรัพย์สิน ” เมื่อผู้กระทำความผิดต่อกฎหมายอาญา ย่อมต้องถูกจับกุมดำเนินคดี ต้องถูกพิมพ์มือและบันทึกประวัติอาชญากร แม้ว่าจะกระทำความผิดซึ่งมีแต่เพียงโทษปรับสถานเดียวก็ตามแต่ต่อมา เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๕ ได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา “พระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

เด็ก 14 ปี ทำผิดอาญาต้องรับโทษหรือไม่ ?

เมื่อเร็วเร็วนี้.... ได้เกิดเหตุยิงกันในห้างสยามพารากอน ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 3 ราย และได้รับบาดเจ็บ 4 ราย ต่อมาเจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถจับกุมคนร้ายได้ เป็นเด็กชายอายุ 14 ปี พร้อมอาวุธปืนแบงกัน (ดัดแปลง) ขนาด 9 มม. ที่ใช้ก่อเหตุ  มีรายงานแจ้งว่า สาเหตุที่เด็กอายุ 14 ปี ก่อเหตุนั้น เนื่องจากเกิดจากอาการหูแว่ว...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

เช็คเด้ง ติดคุกไหม ? *

เมื่อวันที่ ๒๗ มิ.ย.๒๕๖๕ “ครม.มีมติยกเลิก พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คแล้ว” และต่อมาวันที่ ๓๑ ต.ค. ๒๕๖๕ ได้มีการเสนอร่างพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. … ต่อสภาผู้แทนราษฎรเพื่อบรรจุระเบียบวาระเป็นเรื่องด่วน ทำให้ประชาชนทั่วไป รวมถึงนักกฎหมายหลายท่าน สงสัยว่า“มีการยกเลิกการกระทำความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คไปแล้ว โดยจะมีผลบังคับใช้หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นเวลา ๑๒๐ วัน”แล้ว พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๕๓๔...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

บทความทางกฎหมายโดยอัยการวรเทพ  สกุลพิชัยรัตน์

เรื่อง " คณิตศาสตร์แบบนิติศาสตร์ สาม บวกสองบวกห้าเท่ากับแปด " *เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๖ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ได้อ่านคำพิพากษาคดีของ พันตำรวจโทหรือ นายทักษิณ ชินวัตร จำเลย ซึ่งเดินทางกลับมาประเทศไทยภายหลังหลบหนีออกไปจากประเทศไทยนานหลายปี รวมทั้งสิ้น ๓ คดี คือคดีทุจริตปล่อยกู้เอ็กซิมแบงค์ จำคุก ๓ ปี...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

มารู้จัก “พระราชกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี พ.ศ. 2566” กันเถอะ

         “ หลอกให้กด link  แล้วถูกดูดโอนเงิน”          “ หลอกให้กดดูเพจ แล้วถูกดูดเงิน โอนเงิน ”          “ แก๊งค์ CALL CENTER  หลอกให้โอนเงิน”          “ หลอกให้ร่วมลงทุนออนไลน์ ”           “ ซื้อของออนไลน์ ได้ของไม่ตรงปก”          “ ทำอย่างไรจึงจะอายัดเงินทัน”ปัญหาดังกล่าว เป็นปัญหาอาชญากรรมทางเทคโนโลยีซึ่งมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ...
Continue reading
Share
กฎหมายน่ารู้

กล้องบันทึกการจับกุม คุ้มครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐ และประชาชน

สืบเนื่องจากกรณี ”ตำรวจทางหลวง” ถูกคนร้ายขับรถหลบหนี แล้วหักหัวรถตัดขวางรถจักรยานยนต์คันที่ตำรวจทางหลวงซึ่งกำลังขับขี่รถเปิดไซเรนไล่ติดตามคนร้ายที่กำลังเร่งเคลื่อนหลบหนีด้วยความเร็ว จนเป็นเหตุให้ตำรวจทางหลวงนำ้ดีต้องประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตในที่เกิดเหตุทันที กรณีนี้จะเป็นตัวอย่าง อันดีที่แสดงให้เห็นว่าในขณะปฎิบัติหน้าที่ ตำรวทางหลวงท่านนี้ได้ติดกล้องที่บันทึกภาพและเสียงตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ทั้งหมด จึงทำให้เราเห็นว่า เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น ทั้งก่อนเกิดเหตุ, ขณะเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุจาก “ภาพและเสียง” ที่บันทึกได้จากกล้องติดหมวกของตำรวจทางหลวง จึงเป็น ”พยานหลักฐานสำคัญ” ในการ “จับกุม” คนร้ายผู้ก่อเหตุ อันนำไปสู่การแจ้งข้อหาและการไม่อนุญาตจากศาลให้มีการปล่อยตัวผู้ก่อเหตุ ในครั้งนี้สถานการณ์อาจเปลี่ยนแปลงไปถ้า……....
Continue reading
Share